THAICID-NWIKS 2023 Logo

สัปดาห์เครือข่าย THAICID
เพื่อการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างบูรณาการ
ประจำปี พ.ศ.2566_

วันที่ 3 - 7 กรกฎาคม พ.ศ.2566

ณ สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรมชลประทาน ปากเกร็ด นนทบุรี

Schedule

กำหนดการ

  • 08.45 - 09.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    พิธีเปิดงาน THAICID-NWIKS 2023

    - กล่าวรายงานโดย เลขาธิการคณะกรรมการ THAICID นายวิทยา แก้วมี รองอธิบดีฝ่ายวิชาการ กรมชลประทาน
    - กล่าวเปิดงานโดย ประธานคณะกรรมการ THAICID นายประพิศ จันทร์มา อธิบดีกรมชลประทาน

  • 09.00 - 09.20 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    วาระองค์ปาฐกถาพิเศษ (Keynote Speakers) กล่าวปาฐกพิเศษหัวข้อหลัก การขับเคลื่อนงานชลประทานและการระบายน้ำแบบ SMART สนับสนุนกลไกการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อความยั่งยืน (BCG Model) และเป้าหมายการบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน

    โดย นายดนุชา พิชยนันท์
    เลขาธิการสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  • 09.20 - 09.40 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู
    [- Subtheme 1 -]

    การขับเคลื่อนงานชลประทานและการระบายน้ำ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มความเท่าเทียม.

    โดย Prof.Dr.Wim Bastiaanssen
    จาก Delft University of Technology

  • 09.40 - 10.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู
    [- Subtheme 2 -]

    นวัตกรรมสรรค์สร้างและเทคโนโลยีสีเขียว เพื่อเป้าหมายการบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน

    โดย นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์
    ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก

  • 10.00 - 10.20 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู
    [- Subtheme 3 -]

    แนวทางการดำเนินการมาตรการปรับตัวโดยอาศัยระบบนิเวศในภาคน้ำชลประทานภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    โดย ผศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ สุทธินนท์
    จาก ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • 10.30 - 11.00 น. ณ อาคาร 80 ปี วิทยาลัยการชลประทาน

    พักรับประทานอาหารว่าง และเยี่ยมชมนิทรรศการ

  • 11.00 - 11.20 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความรับเชิญที่ 1
    Enhancing climate-resilient Thailand.s rice production

    โดย ดร.อัศมน ลิ่มสกุล
    ผู้อำนวยการกลุ่มการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
    และ นายอดุลย์เดช ปัดภัย นักวิชาการสิ่งแวดล้อม
    ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

  • 11.20 - 11.40 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความรับเชิญที่ 2
    IrriSAT แพลตฟอร์มสำหรับการปฏิบัติการส่งน้ำของประเทศไทย

    โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วราวุธ วุฒิวณิชย์

  • 12.00 - 13.00 น. ณ ห้องอาหารหลังหอประชุมชูชาติ กำภู

    พักรับประทานอาหารกลางวัน

  • 13.00 – 13.20 น. หอประชุมชูชาติ กำภู ห้องเรียนปี 1 จัดอาหารว่างหน้าห้องเรียน ห้องเรียนปี 3 จัดอาหารว่างหน้าห้องเรียน ห้องเรียน ป.โท จัดอาหารว่างหน้าห้องเรียน

    การนำเสนอบทความที่ได้รับการคัดเลือกบทความที่ 1-3

    ดำเนินรายการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.บัญชา ขวัญยืน คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.อารียา ฤทธิมา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

  • 13.10 – 13.40 น. หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความที่ 1 เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการน้ำในฤดูแล้งของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาชัณสูตร จังหวัดสิงห์บุรี

    โดย คุณณัฐชัย แก้วดี

  • 13.40 – 14.10 น. หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความที่ 2 เรื่อง การวิเคราะห์สภาพการไหลในคลองระบายชัยนาท-ป่าสัก

    โดย โดย คุณกิตติยา พิณทอง

  • 14.10 – 14.40 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความที่ 3 เรื่อง การออกแบบช่องเก็บแผ่นกั้นประตูระบายน้ำโดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ

    โดย คุณพงศ์พิชญ์ ยอดยิ่ง

  • 14.40 – 15.10 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความที่ 4 เรื่อง การศึกษาการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำของอ่างเก็บน้ำแม่สรวย

    โดย คุณอรณิชา วัฒนาพิบูลย์ชัย

  • 15.10 – 15.40 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความที่ 5 เรื่อง การคาดการณ์ปริมาณน้ำเข้าเขื่อนประแสร์ด้วยแบบจำลองน้ำฝน-น้ำท่าร่วมกับข้อมูลฝนพยากรณ์

    โดย คุณปิติพงษ์ กุลสุขรังสรรค์

  • 15.40 – 16.10 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความที่ 6 เรื่อง การประยุกต์ใช้ฟังก์ชันคอปูลาค่าสุดขีดเพื่อประเมินความรุนแรงความแห้งแล้งทางอุทกวิทยาในลุ่มน้ำมูล

    โดย คุณประภาวรรณ ชมภูวิเศษ

  • 16.10 – 16.40 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    บทความที่ 7 เรื่อง การประเมินฝนเรดาร์ความละเอียดสูงในพื้นที่ลุ่มรับน้ำเขื่อนอุบลรัตน์

    โดย คุณปริญญา อินทรเจริญ

  • 16.40 – 17.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    พิธีมอบประกาศนียบัตร และกล่าวขอบคุณ

    โดย นายสาธิต มณีผาย ประธานคณะทำงานด้านวิชาการ THAICID

การเสวนาวิชาการ โดย สมาคมศิษย์เก่าวิศวกรรมชลประทาน ในพระบรมราชูปถัมภ์.
  • 08.30 - 09.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู
    อาคาร 80 ปี วิทยาลัยการชลประทาน

    ลงทะเบียน รับเอกสาร ณ หอประชุมชูชาติ กำภู และรับชมนิทรรศการ ณ อาคาร 80 ปีวิทยาลัยการชลประทาน

  • 09.30 - 10.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    กล่าวต้อนรับและเปิดการเสวนา

    โดย ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล
    นายกสมาคมศิษย์เก่าวิศวกรรมชลประทาน ในพระบรมราชูปถัมภ์

  • 09.30 - 10.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การบรรยายพิเศษ กรณีตัวอย่างการขับเคลื่อนพลังงานสะอาดเพื่อสนับสนุน BCG Model

    โดย นายฉัตรชัย มาวงศ์
    ผู้ช่วยผู้ว่าการวิศวกรรมและก่อสร้างโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าการผลิตแห่งประเทศไทย

  • 10.00 - 11.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การเสวนาวิชาการหัวข้อ “การขับเคลื่อนงานชลประทานผ่านกลไกการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อความยั่งยืน (BCG Model)”

    ร่วมเสวนาโดย นายสัตวแพทย์ยุคล ลิ้มแหลมทอง
    ประธานอนุกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG Model สาขาเกษตร
    และ รองศาสตราจารย์ ดร.วิษณุ อรรถวานิช
    จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • 11.30 - 12.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    สรุปประเด็น

    โดย ดร.ทรงศักดิ์ ภัทราวุฒิชัย
    ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน

  • 12.00 - 14.00 น. ณ ห้องอาหารหลังหอประชุมชูชาติ กำภู

    พักรับประทานอาหารกลางวัน

  • 14.00 - 15.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    พิธีกรกล่าวนำเข้าสู่การเสวนา กรณีศึกษา : Success case of BCG model..

    โดย นางสาวนวลลออ เทิดเกียรติกุล
    ประธาน Young Smart Farmer จังหวัดราชบุรี
    และดร.ภณ ทัพพินท์กร
    นายกสมาคมพัฒนาเศรษฐกิจเกษตรรักษ์โลก

  • 15.30 - 16.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    สรุปประเด็น

    โดย นางสาววรณัน. โนราช
    จากส่วนวิจัยและพัฒนาด้านวิศวกรรม สํานักวิจัยและพัฒนา

  • จบการเสวนา

การเสนาวิชาการ INWEPF.

  • 08.30 - 09.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    ลงทะเบียน รับเอกสาร

  • 09.00 - 09.05 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    กล่าวต้อนรับ

    โดย นายวัชระ เสือดี
    ประธานคณะอนุกรรมการด้านน้ำและระบบนิเวศในนาข้าว INWEPF-Thailand

  • 09.00 - 12.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การเสวนา “อนาคตชาวนากับการทำนาแบบใช้น้ำน้อย Chapter 4”

    ร่วมเสวนาโดย
    ดร.วัชระ เสือดี ประธานคณะอนุกรรมการ INWEPF-Thailand
    ดร.ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองประธานคณะอนุกรรมการ INWEPF-Thailand
    นายวิทยา แก้วมี รองอธิบดีฝ่ายวิชาการ กรมชลประทาน
    นายครองศักดิ์ สงรักษา รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
    นายอาทิตย์ ศุขเกษม รองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน
    ดร.เฟื่องลดา ธนะโชติ ผู้แทนกรมการข้าว
    นายไพรัช หวังดี ผู้จัดการภาคสนามอาวุโส Thai Rice NAMA
    นายบุญฤทธิ์ หอมจันทร์ เกษตรกรต้นแบบ Smart Farmer ด้านข้าว จ.ชัยนาท
    ดำเนินรายการโดย
    นายรสุ สืบสหการ อนุกรรมการและเลขานุการ INWEPF-Thailand

  • 12.00 - 13.00 น. ณ ห้องอาหารหลังหอประชุมชูชาติ กำภู

    พักรับประทานอาหารกลางวัน

  • 13.00 - 15.00 น. อาคาร 80 ปี วิทยาลัยการชลประทาน

    นำเสนอสรุปผลการเสวนาบนเวทีและเยี่ยมชมนิทรรศการภายในโรงยิม 80 ปีวิทยาลัยการชลประทาน

ดงตาล Software Day

  • 08.00 - 08.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    ลงทะเบียน รับเอกสาร

  • 08.30 - 09.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    กล่าวต้อนรับ

    โดย นายชัยยะ พึ่งโพธิ์สภ
    ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมชลประทาน (ด้านบริหารจัดการน้ำ) ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนา การชลประทาน กรมชลประทาน

  • 09.00 - 12.15 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอกรณีศึกษา

    ดำเนินรายการโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เกศวรา สิทธิโชค
    จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • 09.00 - 09.45 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอ กรณีศึกษาที่ 1 “Using Normalized Difference Infrared Index Patterns to Constrain Semi-distributed Rainfall-Runoff Models in Tropical Nested Catchments”

    โดย ศาสตราจารย์ ดร.นุชนารถ ศรีวงศิตานนท์
    จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • 09.45 - 10.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอ กรณีศึกษาที่ 2 “การประยุกต์ใช้โมเดลในการจัดทำผังน้ำ ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561”

    โดย นายฐนโรจน์ วรรัฐประเสริฐ
    ผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการน้ำแห่งชาติ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ

  • 10.30 – 10.45 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    รับประทานอาหารว่าง

  • 10.45 – 11.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอ กรณีศึกษาที่ 3 “ปลดล็อกศักยภาพของ IOT: ปฏิวัติรูปแบบการใช้ชีวิตและการทำงานของเรา”

    โดย นายอานนท์ ทองเต็ม ผู้จัดการอาวุโส
    บริษัท ซีนเนอร์ยี่ เทคโนโลยี จำกัด (สมาคมไทยไอโอที)

  • 11.30 – 12.15 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอ กรณีศึกษาที่ 4 “SWOC Participative Public Relations (SWOC PR)”

    โดย นายเลอบุญ อุดมทรัพย์
    ผู้อำนวยการส่วนประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน

  • 12.15 - 13.15 น. ณ ห้องอาหารหลังหอประชุมชูชาติ กำภู

    พักรับประทานอาหารกลางวัน

  • 13.15 - 16.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอกรณีศึกษา(ต่อ)

    ดำเนินรายการโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เกศวรา สิทธิโชค
    จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • 13.15 – 14.00 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอ กรณีศึกษาที่ 5 “Staff Gauge Reading Using Image Recognition”

    โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วันจักรี์ เล่นวารี
    จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  • 14.00 – 14.45 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอ กรณีศึกษาที่ 6 “การพัฒนาโปรแกรมวางแผนและ ปฏิบัติการน้ำแบบ Real-time ภายใต้สภาวะความผันผวน จากสภาพภูมิอากาศด้วยเทคโนโลยี IoT และ AI”

    โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ปิ่นทอง
    จากคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

  • 14.45 – 15.00 น. ณ บริเวณลงทะเบียน หน้าหอประชุมชูชาติ กำภู

    รับประทานอาหารว่าง

  • 15.00 – 15.45 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอ กรณีศึกษาที่ ๗ “การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการบริหารจัดการน้ำ โดยประยุกต์ใช้ IWASAM กรณีศึกษาลุ่มน้ำคลองสวนหมาก”

    โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมชาย ดอนเจดีย์
    จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • 15.45 – 16.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    การนำเสนอ กรณีศึกษาที่ 8 “การพัฒนาระบบคาดการณ์น้ำท่วมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร แบบ Real Time”

    โดย ดร.ศิริลักษณ์ ชุ่มชื่น
    กรรมการผู้จัดการ บริษัท ปัญญา คอนซัลแตนท์ จำกัด

ดงตาล Software Day

  • 08.30 - 09.00 น. ณ อาคารเรียน 2

    ลงทะเบียน เพื่อเข้าร่วม Workshop

  • 09.00 – 12.00 น. ณ อาคารเรียน 2

    • ห้องย่อยที่ 1 “การประยุกต์ใช้แบบจำลอง KU-FLEX-SD สำหรับ ลุ่มน้ำปิงตอนบน”

    โดย ศาสตราจารย์ ดร.นุชนารถ ศรีวงศิตานนท์
    จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • 09.00 – 12.00 น. ณ อาคารเรียน 2

    • ห้องย่อยที่ 2 “การประยุกต์ ใช้โปรแกรม IrriSAT ในงานชลประทาน”

    โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วราวุธ วุฒิวณิชย์
    จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  • 09.00 – 12.00 น. ณ อาคารเรียน 2

    • ห้องย่อยที่ 3 “การสร้างเซ็นเซอร์วัดค่าสภาวะแวดล้อมอย่างง่ายด้วย IOT”

    โดย นายอานนท์ ทองเต็ม ผู้จัดการอาวุโส
    จากบริษัท ซีนเนอร์ยี่ เทคโนโลยี จำกัด (สมาคมไทยไอโอที)

  • 09.00 – 12.00 น. ณ อาคารเรียน 2

    • ห้องย่อยที่ 4 “แบบจำลองการไหลในลำน้ำ โดย HEC-RAS”

    โดย อ.กรตสุวรรณ โพธิ์สุวรรณ และ อ.ลพรรณพลอย ชาวเรือ
    จากสถาบันพัฒนาการชลประทาน

  • 12.00 - 13.00 น. อาคารเรียน 2

    พักรับประทานอาหารกลางวัน

  • 13.00 - 16.00 น. ณ สนามหน้า หอประวัติ

    การสาธิตการใช้โปรแกรมและเทคโนโลยีอุปกรณ์สมัยใหม่

    โดย สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา

  • 16.00 - 16.30 น. ณ หอประชุมชูชาติ กำภู

    พิธีปิดTHAICID-NWIKS 2023.

จำนวนผู้เข้าชม